ไขข้อข้องใจกฎหมายแร่

มีสมาชิกหลายท่านมีข้อกังวล เกี่ยวกับการกำหนด “เขตแหล่งแร่เพื่อการทำเหมือง” ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2560 ของภาครัฐว่าจะดำเนินไปในทิศทางใด และได้สอบถามเข้ามาที่สภาการเหมืองแร่

กพร. ร่วมกับ UNIDO จัดงานสัมมนา “Green Scrap Metal Thailand 2020”

หนุนผู้ประกอบการรีไซเคิลเศษโลหะอย่างยั่งยืน ลดการปล่อย U-POPs มากกว่า 20% เพื่อส่งเสริม และพัฒนำอุตสำหกรรมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและประชำสัมพันธ์โครงกำร จัดกำรเศษโลหะอย่ำงยั่งยืน 

คุณศิริชัย มาโนช พัฒนาเหมืองปิล๊อก สู่แหล่งท่องเที่ยว ใกล้ชิดธรรมชาติ

ในบรรดาหมู่เหมืองแร่ดีบุก-วุลแฟรมที่สำคัญ ชองไทย ซึ่งมีความสมบูรณ์ของแร่ในอันดับต้นๆ แน่นอนว่าจะเป็นเหมืองไหนไปไม่ได้ นอกจาก “เหมืองปิล๊อก” ที่เปิดฉากการทำเหมืองแร่อย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ.2484

ผลกระทบของ COVID-19 ต่ออุตสาหกรรมเหมืองแร่

COVID-19 ได้ส่งผลกระทบกับภาค อุตสาหกรรมเหมืองแร่ทั่วโลก หลังจาก ที่รัฐบาลของหลายประเทศได้ประกาศ ใช้มาตรการปิดพื้นที่ (Lockdown) และ การกักกันพื้นที่ (State Quarantines) ส่งผลให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ หลายแห่งต้องหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว

สภาการเหมืองแร่ จัดประชุมสามัญประจำปี 2563 พร้อมจัดบรรยายพิเศษในหัวข้อ “การใช้อากาศยานไร้คนขับในงานรังวัดเหมืองแร่”

ภายในงานมีการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “การใช้อากาศยานไร้คนขับใน งานรังวัดเหมืองแร่” โดย ดร.อนุชิต สุขเจริญพงษ์ วิศวกร สำรวจชำนาญการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และมีการเลือกตั้งกรรมการสภาการเหมืองแร่ชุดใหม่